การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง



   การสื่อสารโดยใชรหัสแสง 

  (Iuminous communication)

       การสื่อสารแบบนี้ พบในสัตวที่มีกิจกรรมกลางคืน หรือในที่มีแสงนอย เชน ใตทะเลลึก ซึงไมมีแสง ่(aphontic zone) สัตวกลุมนี้ เชน หิ่งหอย จะมีกระบวนการไบโอลูมิเนสเซนซ (bioluminescence) กับ แกสออกซิเจน และมีเอนไซม ลูซิเฟอเรส (luciferase)
เป็นตัวเรงปฎิกิริยาและมีพลังงานปลดปลอยออกมา




ภาพ  ภาพแมลงที่สื่อสารโดยใชรหัสแสง


https://www.youtube.com/watch?v=_lzkUWJVpOg

ตัวอยางการสื่อสารระหวางสัตวโดยใชรหัสแสง ตัวอยางการสื่อสารระหวางสัตวโดยใชรหัสแสง
ในหิ่งหอยตัวเมีย บินไมไดแตจะเกาะอยูบนตนไม เมื่อหิ่งหอยตัวเมียปลอยรหัสแสงออกมา
ทําใหหิ่งหอยตัวผูเห็นและรูวาเป็นชนิดเดียวกัน ตัวผูจะบินไปหาและเกิดการรวมกลุมผสมพันธุกันโดยไมผสมขามพันธุ  เพราะรหัสแสงแตละชนิดจะมีลักษณะแตกตางกันไปทําใหมีความเฉพาะเจาะจงของสิ่งมีชีวิตแตละสปี ชีส


ที่มา:http://manage.brr.ac.th/biology/bio30253/work/ppt2C502G6.pdf

2 comments:

  1. ฮ่าๆๆๆ ไม่มีภาพที่แล้วครับ อาจารย์

    ReplyDelete